แหล่งท่องเที่ยวภาคเหนือที่ไม่คุ้นหู!!

พูดคุยเรื่องทั่วไป แนะนำตัวเอง คุยกันตามประสา คนทำบอร์ด แต่ห้ามถามปัญหา phpbb

Moderator: phpbb, mindphp, ผู้ดูแลกระดาน

กฎการใช้บอร์ด
แนะนำตัวเอง บอกความรู้ตัวเอง
หมวดนี้ ไม่ต้องตั้งคำถามใดๆ เกี่ยวกับ phpbb3 นะครับ (เพราะจะไม่มีใครตอบในหมวดนี้) คำถามเกี่ยวกับ phpbb3 กรุณาตั้งให้ตรงหมวด
ตอบกลับโพส
Namaing Aingaing
phpBBThailand Newbie
phpBBThailand Newbie
โพสต์: 4
ลงทะเบียนเมื่อ: 13 เม.ย. 2020, 12:02

แหล่งท่องเที่ยวภาคเหนือที่ไม่คุ้นหู!!

โพสต์ โดย Namaing Aingaing »

ดอยปุยหลวง แดนดอยบ้านป่า
มีเวลาสัก ๒ วัน ๑ คืน น่าไปเดินคอยที่ ดอยปุยหลวง อุทยานแห่งชาติแม่เงา จังหวัดแม่ฮ่องสอน อุทยานฯ แม่เงาอยู่ใกล้ชายแดนเมียนมา พูดได้ว่า ที่นี่ยังคงเสน่ห์อันเรียบง่าย ทั้งดอยสูง สายน้ำ และ ชนเผ่าซึ่งอาศัยอยู่ในป้าคอยแห่งนี้ ระหว่างทางเดินขึ้น "คอยปุยหลวง" ซึ่งเป็นจุด สูงสุดของผืนป่าแม่เงา จะผ่านป่าสน ทุ่งหญ้ากว้าง ทุ่ง ดอกไม้ป่า และป่าดงดิบเขา ที่ยอดดอย ความสูง ๑.๖๖๕ เมตร จาก ระดับทะเลปานกลาง จะเผยให้เห็นป่าดอยไกล สุดสายตา ไกลถึงป่าแม่เมย จังหวัดตาก ไกลไปถึง ป่าอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแคมปีค้างแรมบนคอยปุยหลวง วันรุ่งขึ้นค่อย เดินลงคอย ระหว่างทางป่าจะผ่านบ้านกะเหรี่ยง แม่หลุยไต้ ปลายทางอยู่ที่บ้านกะเหรี่ยงแม่หลุยหลวง ซึ่งตั้งเรือนอยู่ริมแม่น้ำเงา แม่น้ำบริสุทธิ์ซึ่งเหลืออยู่ น้อยนักแล้วในบ้านเรา
ที่บ้านแม่หลุยหลวง น่าล่องแพกลับออกไปยัง ที่ทำการอุทยานฯ สองฟากฝั่งแม่น้ำเงาสงบงาม สายน้ำสีเขียวใส หากโชคดีอาจได้เห็นสัตว์ปลงมา กินน้ำใกล้ ๆ ทริก : นาไปเยือนช่วงกลางฤดูหนาว ทุ่งหญ้าบน ยอดคอยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองทอง ทุ่งหนาดคำน้อย จะผลิดอกพราวสะพรั่ง ยามค่ำคืน แสงจันทร์จะอาบไล้ ไปทั่วป่าดอย งดงามยิ่งนัก
ดอยม่อนจอง บ้านของม้าเทวดา
หากให้นึกถึงคอยสักแห่ง เชื่อว่าดอยม่อนจอง คุงปรากฎเป็นลำดับแรก ๆ ในดวงใจ เพราะคอยแห่งนี้ ทั้งพิเศษ งดงาม และยิ่งใหญ่ ดอยม่อนจองอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหนึ่งในถิ่นอาศัยที่เหลือเพียง ไม่กี่แห่งของ "ม้าเทวดา" อีกทั้งภูมิทัศน์ก็งดงาม ตระการตาอย่างยิ่ง กล่าวถึงม้าเทวดา มันคือชื่อที่ชาวมูเซอคำใช้เรียก "กวางผา" สัตว์ป่สงวนใกล้สูญพันธุ์ของบ้านเรา เหตุที่ เรียกว่าม้าเทวดา เพราะพวกมันอาศัยอยู่บนหน้าผา ที่สิ่งมีชีวิตสี่ขไม่น่าจะอยู่รอดได้ โดยเฉพาะแนว หน้าผาชั้นดิ่งบนคอยม่อนจอง สถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ ของชาวมูเซอคำ อย่างที่กล่าว ดอยม่อนจองไม่เพียงเป็นบ้านของ กวางผา ภูมิทัศน์บนคอยแห่งนี้ยังตระการตา ณ ความสูง ๑,๙๓๔ เมตร จากระดับทะเลปานกลาง เราจะ มองเห็น "ยอดหัวสิงห์" สูงตระหง่านประหนึ่งวิหาร
อันศักดิ์สิทธิ์ บนยอดดอยลดหลั่นเบื้องหน้านั้นเป็น ทุ่งหญ้า ด้านซ้ายเป็นปดิบเขาเขียวชอุ่ม ขณะด้าน ขวาเป็นแนวหน้าผาชันลิ่วลงไปสุดสายตา ซึ่งนั่นคือ บ้านของม้าเทวดา ทริก : นาไปเยือนช่วงปลายฤดูหนาว เพราะ กุหลาบพันปีป่าจะผลิบานพร้อมกันทั่วทั้งยอดดอย นับ เป็นภาพหาชุมได้ยากยิ่งในบ้านเรา ควรแต่งกายด้วยชุดกลมกลืนกับธรรมชาติ เคารพ สถานที่ซึ่งเป็นบ้านของสัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ ไม่ควร ส่งเสียงดังหรือทำกิจกรรมทีรบุกวนกวางผาและเพื่อน นักนิยมธรรมชาติที่มาเยือนเช่นกัน น่าแวะไปเยือนสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าอมก๋อย อยู่ตรงปากทางขึ้นคอยม่อนจอง ที่นั่นมีกวางผาซึ่ง เพาะเลี้ยงเพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ
ดอยภูคา ป่าดึกดำบรรพ์
เอ่ยถึงจังหวัดน่าน คนรักคอยทั้งหลายคงนึกถึง "ดอยภูดา" แดนดอยรอยต่ออำเภอปัว-บ่อเกลือ ดอยภูคาได้รับการดูแลในฐานะอุทยานแห่งชาติ เพราะเป็นแหล่งต้นน้ำชั้นดีที่เป็นต้นกำเนิดลำน้ำว้า และแม่น้ำน่าน ไม่เพียงเท่านั้น ป้าดึกดำบรรพ์แห่งนี้ ยังเป็นที่นิยมของคนรักธรรมชาติ เพราะมีพรรณไม้ สวยงามหลากหลาย แต่ละชนิดหาชุมได้ยากยิ่ง เพียงเดินไปตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติบริเวณ ที่ทำการอุทยานฯ ที่ความสูง ๑,๗๐๐ เมตร จาก ระดับทะเลปานกลาง สองข้างทางคอยจะพบ "เต่าร้าง น่านเจ้า" พืชโบราณยุคไดโนเสาร์"ชมพูภูคา" พรรณไม้ เฉพาะถิ่นของที่นี่ "กระโถนฤษี" พืชเบี้ยนดึกดำบรรพ์ ส่วน "ก่วมภูดา" ไม้สกุลเมเปิลซึ่งเป็นพืชเฉพาะถิ่น เช่นกัน สามรถชมได้ใกล้ ๆ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ไม่เพียงพรรณไม้หายาก บ่นเส้นทางเดินเดียวกันนี้ อาจได้พบ "นกไต่ไม้สีสวย" ๑ใน ๕ ชนิดของนกไต่ไม้ ที่พบได้ยากในบ้านเรา และหากโชคดี อาจพบผีเสื้อ ไกเซอร์ "อัญมณีมีปีก" ซึ่งหายากและงดงามยิ่งธรรมชาติ เพลิดเพลินกับพรรณไม้และพันธุ์สัตว์สวยงามแล้ว ดอยภูคายังมีวิวให้ได้ชื่นชมผ่อนคลาย อยู่ริมทางไป อำเภอบ่อเกลือ ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ เพียง ๕ กิโลเมตร
ทริก : นาไปเยือนช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เพราะเป็น ช่วงที่ชมพูภูคาผลิบานดอก ก่วมภูคาเปลี่ยนสีใบเป็น สีแดงสดใส่ กระโถนฤษีก็ผลิบานให้ได้ชมช่วงเวลานี้
ขอขอบคุณบทความคุณภาพจาก Lucaclub88
บาคาร่า อันดับหนึ่งในไทย
ตอบกลับโพส

ย้อนกลับไปยัง

ผู้ใช้งานขณะนี้

กำลังดูบอร์ดนี้: 111 และ บุคคลทั่วไป 0 ท่าน